สรุปความรู้ที่ได้รับจากการสัมมนา วันที่ 23 กรกฎาคม 2554 เรื่องการบริการรูปแบบใหม่
อาจารย์บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ หัวหน้างาน งานพัฒนาและบริการสื่อสาระดิจิทัล
ฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
New services บริการสารสนเทศ รูปแบบใหม่ที่เกี่ยวข้อง
บริการรูปแบบใหม่
Library Ternd : สารสนเทศรูปแบบใหม่ในห้องสมุด
Trend ที่ 1 Cloud Computing
Trend ที่ 1 Cloud Computing
คำนิยาม Cloud Computing ว่า “การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ” Cloud Computing เป็นการทำงานโดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่มากมายบนระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งเราเพียงแต่เชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต โดยไม่ต้องสนใจว่าทรัพยากรที่ใช้อยู่นั้นมาจากต่างที่ต่างระบบเครือข่าย ทั้งที่อยู่ใกล้ๆ หรือไกลออกไป เป็นการใช้ทรัพยากรภายในเครือข่ายขนาดใหญ่ จึงใช้สัญลักษณ์รูปก้อนเมฆแทนที่ตั้งของทรัพยากรคอมพิวเตอร์ทั้งหมดที่มีไว้ ให้บริการโดยผู้ให้บริการบุคคลที่สาม
- Cloud Provider หมายถึงผู้ให้บริการระบบ Cloud นั่นเอง
- Cloud Provider หมายถึงผู้ให้บริการระบบ Cloud นั่นเอง
- Cloud Storage คือสถานที่เก็บทรัพยากรสำหรับระบบ Cloud
Cloud Computing คือวิธีการประมวลผลที่อิงกับความต้องการของผู้ใช้ โดยผู้ใช้สามารถระบุความต้องการไปยังซอฟต์แวร์ของระบบCloud computing จากนั้นซอฟต์แวร์จะร้องขอให้ระบบจัดสรรทรัพยากรและบริการให้ตรงกับความต้องการผู้ใช้ ทั้งนี้ระบบสามารถเพิ่มและลดจำนวนของทรัพยากร รวมถึงเสนอบริการให้พอเหมาะกับความต้องการของผู้ใช้ได้ตลอดเวลา โดยที่ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องทราบเลยว่าการทำงานหรือเหตุการณ์เบื้องหลังเป็นเช่นไร(http://javaboom.wordpress.com/2008/07/23/whatiscloudcomputing/)
นิยามที่หลากหลาย
แยกตามกลุ่มผู้ใช้
Cloud ระดับองค์กร.......cloud Library
Cloud ระดับบุคคล / บริการ เช่น G mail, Facebook, Meebo
Cloud ผสม (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ใช้อยู่)
Dropbox (www.dropbox.com สามารถโหลด App ลง Iphone or Ipad)
Cloud Computing คือวิธีการประมวลผลที่อิงกับความต้องการของผู้ใช้ โดยผู้ใช้สามารถระบุความต้องการไปยังซอฟต์แวร์ของระบบCloud computing จากนั้นซอฟต์แวร์จะร้องขอให้ระบบจัดสรรทรัพยากรและบริการให้ตรงกับความต้องการผู้ใช้ ทั้งนี้ระบบสามารถเพิ่มและลดจำนวนของทรัพยากร รวมถึงเสนอบริการให้พอเหมาะกับความต้องการของผู้ใช้ได้ตลอดเวลา โดยที่ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องทราบเลยว่าการทำงานหรือเหตุการณ์เบื้องหลังเป็นเช่นไร(http://javaboom.wordpress.com/2008/07/23/whatiscloudcomputing/)
นิยามที่หลากหลาย
แยกตามกลุ่มผู้ใช้
Cloud ระดับองค์กร.......cloud Library
Cloud ระดับบุคคล / บริการ เช่น G mail, Facebook, Meebo
Cloud ผสม (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ใช้อยู่)
Dropbox (www.dropbox.com สามารถโหลด App ลง Iphone or Ipad)
แยกตามการให้บริการ
- Public cloud คือการให้บริการแบบกลุ่มสาธารณะหรือระดับองค์กร
- Pivate cloud คือการให้บริการแบบระดับส่วนบุคคล เช่น Facebook Gmail เป็นต้น
- Hybrid Cloud คือการให้บริการแบบ2ทางเลือก หรือแบบผสมทั้งแบบระดับองค์กรและส่วนบุคคล
แยกตามประเภทของเทคโนโลยี
- SaaS (Softwere as a Service) เป็นผู้ให้บริการที่ยอมทำซอฟแวร์เหมือนMicrosoft ให้ใช้งานโดย
ไม่ต้องติดตั้งทีละเครื่องๆ เช่น zoho.com, docs.google.com
- IaaS (Infrastructure as a Service)
- Paas (PlatForm as a Service)
Trend ที่ 2 Mobile Device
รู้จักผู้ใช้และพฤติกรรมจาก http://truehits.net คือเว็บสถิติของประเทศไทย
โทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile Device) หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ขนาดพกพา ที่มีขนาดเล็กทำงานได้เหมือนกับเครื่องคอมพิวเตอร์ และมีคุณสมบัติเด่น คือ ขนาดเล็ก,น้ำหนักเบา, ใช้พลังงานค่อนข้างน้อย, มักใช้ทำหน้าที่ได้หลายอย่าง, ติดต่อแลกเปลี่ยนข่าวสารกับคอมพิวเตอร์ได้ และที่สำคัญคือ สามารถเพิ่มหน้าที่การทำงานได้ โดยอาศัย Software Mobile จัดแบ่งตาม OS จะได้ 3 กลุ่มใหญ่ ๆ ดังนี้ คือ Smart Phone, Palm และ Pocket PC
ที่มา:http://us.generation-nt.com/amazon-kindle-iphone-android-ebook-content-multimedia-news-2319301.html
Trend ที่ 3 Digital content & Publishing ebook, IR, Digital Library OJS
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (อังกฤษ: E-book) เป็นหนังสือหรือเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ที่ผู้อ่านสามารถอ่านผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ หรือเครื่องอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book reader) ได้
รูปแบบ File ของ Ebook ได้แก่
โทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile Device) หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ขนาดพกพา ที่มีขนาดเล็กทำงานได้เหมือนกับเครื่องคอมพิวเตอร์ และมีคุณสมบัติเด่น คือ ขนาดเล็ก,น้ำหนักเบา, ใช้พลังงานค่อนข้างน้อย, มักใช้ทำหน้าที่ได้หลายอย่าง, ติดต่อแลกเปลี่ยนข่าวสารกับคอมพิวเตอร์ได้ และที่สำคัญคือ สามารถเพิ่มหน้าที่การทำงานได้ โดยอาศัย Software Mobile จัดแบ่งตาม OS จะได้ 3 กลุ่มใหญ่ ๆ ดังนี้ คือ Smart Phone, Palm และ Pocket PC
Smart Phone : Java, Dabian
Tablet : Android
eReader : IOS
Netbook : Windows
Trend ที่ 3 Digital content & Publishing ebook, IR, Digital Library OJS
Ebook
ที่มา:http://www.foresceneweb.com/New-York-Web-Design-web-marketing/faq-%E2%80%93-ebook/ |
การทำ E-book ให้มุ่งความสำคัญไปที่ 3 ส่วน คือ
1. การได้มาของเนื้อหา
2. กระบวนการผลิตและรูปแบบ
3. ลิขสิทธิ์ต้นฉบับและการเผยแพร่ (ลิขสิทธิ์ของต้นฉบับ, ลิขสิทธิ์ของ Ebook) รูปแบบ File ของ Ebook ได้แก่
.doc
.pdf
Flip ebook เช่น Flip Album
Flash ebook
ePublishing (โปสเตอร์, แผ่นพับ อิเล็กทรอนิกส์)
.ePub (Sony reader, Kindle, ipad, iphone)
Digital multimedia book
ตัวอย่าง E Book
- http://ag-ebook.lib.ku.ac.th/ ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- http://www.sac.or.th/databases/siamrarebooks/main/index.php/home หนังสทอเก่าชาวสยาม
เช่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ใช้ Flash e-book
มหาวิทยาลัยมหิดลใช้ PDF e-book
วชิรญาณวิเศษใช้ 4 แบบ - online Flash e-book
- PDF แบบปกติ
- PDF แบบละเอียด
- ฉบับข้อความ
- http://ag-ebook.lib.ku.ac.th/ ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- http://www.sac.or.th/databases/siamrarebooks/main/index.php/home หนังสทอเก่าชาวสยาม
เช่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ใช้ Flash e-book
มหาวิทยาลัยมหิดลใช้ PDF e-book
วชิรญาณวิเศษใช้ 4 แบบ - online Flash e-book
- PDF แบบปกติ
- PDF แบบละเอียด
- ฉบับข้อความ
Trend ที่ 4 Crosswalk Metadata
Metadataหมายถึงข้อมูลที่ใช้ในการอธิบายรายการและกลุ่มของรายการ มันเป็นข้อมูลเกี่ยวกับข้อมูล มันสามารถใช้เพื่ออธิบายรายการทางกายภาพเช่นเดียวกับรายการดิจิตอล (ไฟล์เอกสาร, ภาพ, ชุด, ฯลฯ ) แคตตาล็อกห้องสมุด, ตัวอย่างเช่นถูกสร้างขึ้นจากข้อมูลที่อธิบายถึงหนังสือ, วารสารและรายการอื่น ๆ ที่จัดขึ้นโดยห้องสมุด คุณสมบัติของแฟ้มสำหรับเอกสารประมวลผลคำเป็นพื้นฐานการบันทึกข้อมูลเมตา (และไม่สมบูรณ์)
MARC
MARC ML
Dublin Core
ISAD (g) - มาตรฐานจดหมายเหตุดิจิตอล
CDWA - เป็น Matadata ที่เกี่ยวข้องกับ พิพิธภัณฑ์
RDF - Framework รายละเอียดทรัพยากร
OWL
MODs
METs
PDF Metadata
Doc Metadata
EXIF
XMP
IPIC
Trend ที่ 5 Open technology
Z 39.5 แลกเปลี่ยนข้อมูลบบรรณานุกรมหนังสือผ่าน ILS ( LIS <---> ILS) ห้องสมุดกับห้องสมุด
Z 39.88 แลกเปลี่ยนข้อมูลบรรณานุกรมหนังสือผ่าน ILS <---> Application
การเพิ่มลำดับเว็บ/จัดลำดับเว็บ Webometric
OAI _ PMH <------one search
Linked Data
Metadata
Bibliography
เว็บแนะนำ เป็นเว็บสำหรับค้นอย่างเดียว http://tnrr.in.th/ ระบบคลังข้อมูลงานวิจัยไทย
เว็บดูว่า Database มีที่ไหนบ้าง http://tnrr.in.th/beta
Trend ที่ 6 Data&Information Mining/Visualization
"visual search engine"
http://vadl.cc.gatech.edu/
http://labs.ideeinc.com/
http://www.krazydad.com/
http://labs.ideeinc.com/multicolour
Green ICT คือ แนวความคิดในการนำ ICT มาสนับสนุนเพื่อการลดพลังงาน เพื่อการนำกลับมาใช้ เพื่อทำให้เกิดสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้น การจะสำเร็จได้ต้องอยู่ที่ความตระหนัก และการปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ
http://www.biomedexperts.com/Portal.aspx
http://www.researchgate.net/
(Black April ติดตามได้ที่ http://www.telecomjournal.net/index.php?option=com_content&task=view&id=4517&Itemid=43) Metadataหมายถึงข้อมูลที่ใช้ในการอธิบายรายการและกลุ่มของรายการ มันเป็นข้อมูลเกี่ยวกับข้อมูล มันสามารถใช้เพื่ออธิบายรายการทางกายภาพเช่นเดียวกับรายการดิจิตอล (ไฟล์เอกสาร, ภาพ, ชุด, ฯลฯ ) แคตตาล็อกห้องสมุด, ตัวอย่างเช่นถูกสร้างขึ้นจากข้อมูลที่อธิบายถึงหนังสือ, วารสารและรายการอื่น ๆ ที่จัดขึ้นโดยห้องสมุด คุณสมบัติของแฟ้มสำหรับเอกสารประมวลผลคำเป็นพื้นฐานการบันทึกข้อมูลเมตา (และไม่สมบูรณ์)
MARC
MARC ML
Dublin Core
ISAD (g) - มาตรฐานจดหมายเหตุดิจิตอล
CDWA - เป็น Matadata ที่เกี่ยวข้องกับ พิพิธภัณฑ์
RDF - Framework รายละเอียดทรัพยากร
OWL
MODs
METs
PDF Metadata
Doc Metadata
EXIF
XMP
IPIC
Trend ที่ 5 Open technology
Z 39.5 แลกเปลี่ยนข้อมูลบบรรณานุกรมหนังสือผ่าน ILS ( LIS <---> ILS) ห้องสมุดกับห้องสมุด
Z 39.88 แลกเปลี่ยนข้อมูลบรรณานุกรมหนังสือผ่าน ILS <---> Application
การเพิ่มลำดับเว็บ/จัดลำดับเว็บ Webometric
OAI _ PMH <------one search
Linked Data
Metadata
Bibliography
เว็บแนะนำ เป็นเว็บสำหรับค้นอย่างเดียว http://tnrr.in.th/ ระบบคลังข้อมูลงานวิจัยไทย
เว็บดูว่า Database มีที่ไหนบ้าง http://tnrr.in.th/beta
Trend ที่ 6 Data&Information Mining/Visualization
"visual search engine"
http://vadl.cc.gatech.edu/
http://labs.ideeinc.com/
http://www.krazydad.com/
http://labs.ideeinc.com/multicolour
Trend ที่ 7 Green library <== Global warming
Green Building คือ อาคารที่ออกแบบ ก่อสร้าง และใช้งานอาคาร ที่คำนึงให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้คุ้มค่าที่สุด และไม่ก่อให้เกิดมลพิษต่อสภาวะแวดล้อม เช่น ไม่ปล่อยน้ำเสีย ไม่ปล่อยก๊าซคาร์บอนได้อ๊อกไซต์
WORLD TRADE CENTER TOWER
อยู่ที่บาเรน ออกแบบโดย Shaun Killa ดูให้ดี กังหันลมสามอันที่ติดตั้งได้ผลิตไฟฟ้าให้อาคารได้ด้วย
Green ICT คือ แนวความคิดในการนำ ICT มาสนับสนุนเพื่อการลดพลังงาน เพื่อการนำกลับมาใช้ เพื่อทำให้เกิดสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้น การจะสำเร็จได้ต้องอยู่ที่ความตระหนัก และการปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ
Green Library PSA
เว็บแนะนำสำหรับGlobal warming
http://thai2english.com/http://www.biomedexperts.com/Portal.aspx
http://www.researchgate.net/
OCLC (Online Computer Library Center)
OCLC (Online Computer Library Center) เริ่มก่อตั้งขึ้นในรัฐโอไฮโอ ในปี ค.ศ. 1967 เป้นองค์กรนานาชาติไม่แสวงหากำไร โดยความรวมตัวกันของห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาในรัฐโอไฮโอ ประเทศสหรัฐอเมริกา จำนวน 54 แห่ง โดยใช้ชื่อว่า Ohio College Library Center ได้เปิดตัวระบบทำรายการร่วมกันเป็นแบบออนไลน์สำหรับห้องสมุด (Online Shared Cataloging System for Libraies) ได้รับการเปิดตัวในปี ค.ศ. 1979 และตั้งแต่นั้นมามีห้องสมุดร่วมใช้บริการประมาณ 6,928 แห่ง จากทั่วโลก ในปีค.ศ. 1981 ได้เปลี่ยนชื่อเป็น Online Computer Library Center ส่วนบริการ FiestSearch ได้รับการแนะนำเป็นฐานข้อมูลเครื่องมืออ้างอิงในปี ค.ศ. 1991
OCLC เป็น Bibliographic Utilities ที่มีฐานข้อมูลขนาดใหญ่ที่สุดและเป็นเครือข่ายที่ใหญ่ที่สุดในโลก คือ ในปี ค.ศ. 1999 OCLC มีจำนวนระเบียนประมาณ 40 ล้านระเบียน ให้บริการแก่ห้องสมุดที่เป็นสมาชิก มีการเพิ่มระเบียนในฐานข้อมูลทุก 15 วินาที และในปี 2005 Worldcat มีบรรณานุกรม 61 ล้านระเบียน ซึ่งปัจจุบันให้บริการในห้องสมุด 53,546 แห่งใน96 ประเทศ ทั่วโลก
OCLC มีวัตถุประสงค์เพื่อ
1. สนับสนุนและส่งเสริมการเข้าถึงสารสนเทศจากห้องสมุดต่างๆ ทั่วโลก
2. สร้างฐานข้อมูลบรรณานุกรม โดยความร่วมมือของสมาชิก
3. ส่งเสริมและสนับสนุนการทำรายการและการใช้ทรัพยากรร่วมกัน
4. ลดค่าใช้จ่ายในการเข้าถึงสารสนเทศ
สืบค้นมาจาก http://www.kcn.ac.th/weblibrary/WEB/WebLibrary/OCLC.pdf วันที่ 28 กรกฎาคม 2554 เวลา 04.55 น.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น