วันอังคารที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

สิ่งที่ได้จากการสัมมนา วันที่ 24 กรกฎาคม 2554 เรื่องการบริการรูปแบบใหม่

สรุปความรู้ที่ได้รับจากการสัมมนา วันที่ 24 กรกฎาคม 2554 เรื่องการบริการรูปแบบใหม่

อาจารย์บุญเลิศ  อรุณพิบูลย์ หัวหน้างาน งานพัฒนาและบริการสื่อสาระดิจิทัล
ฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

เป็นการอบรมโดยการลองทำโปรแกรมต่างๆที่ใช้ในการบริการรูปแบบใหม่โดยเริ่มแรกเข้าเว็บ
ดาวน์โหลด Mercury z39.50 cliemts

ให้มองภาพว่า mercury z39.50 clients 8 คือ catalogue module ของระบบ innopac 
ในห้องสมุด มช. ดังนั้นหากต้องหารลงรายการบรรณานุกรมหนังสือ
ประเด็นน่าสนใจของ z39.50
1.ระบบห้องสมุดที่จัดหา/จัดวื้อ พัฒนา ไม่มีโมดูล z39.50
2.ระบบห้องสมุดที่ใช้อยู่มีดมดูล z39.50 แต่ห้องสมุดไม่ทราบ ทั้งการเปิดการใช้งาน การใช้งาน
3.ห้องสมุด/บรรณารักษ์ ไม่รู้จัก z39.50 มาก่อน
4.หนังสือส่วนมากของห้องสมุดดเป็นภาษาไทย ซึ่งระบบห้องสมุดที่เปิดข้อมูลที่เปิดโมดูล z39.50 
ของประเทศไทย มีน้อย หรือ ไม่เปิดระบบให้บริการ

z39.88 , OAI-PHM, Embeded Metadata
กับแลกเปลี่ยนรายการบรรณานุกรมจากหนังสือ/ทรัพยากร สู่ Application

การพัฒนาเว็บแยก 2 กรณี 
1.ทำมือ... สร้างหน้า .php, .html, .htm
2.พัฒนาด้วย s/w เช่น CMS - Joomal , Drupal

ตัวอย่างทำหน้าเว็บแนะนำภาควิชา 1 หน้า จะได้ไฟล์ about.html
พิมพ์เนื้อหาแนะนำภาค 4 พารากราฟ
มีรูปภาพ .jpg ประกอบ 3 ภาพ
มีลิงก์ให้ดาวน์โหลดไฟล์แนะนำภาค 2 ไฟล์
.ppt
.pdf

เว็บที่ทำต้องให้ Google Search Engine เก็บข้อมูลได้ ไฟล์ประกอบการทำเว็บมีกี่ไฟล์
1 html
3 jpg
1 ppt
1 pdf

ทุกไฟล์ต้องฝัง Metadata ที่จำเป็น
// 1 html ฝัง Web Meta Tag 
----------------เป็นการเขียน / ใส่ code เอง 
 ---- < meta name = "keywords" content = "คำค้น" />
 ----< meta name = "authors" content = "หน่วยงาน/ผู้สร้างสรรค์" />
 ----< meta name = "description" content = "คำอธิบาย" />

// 3 jpg ฝัง IPTC
// 1 ppt ฝัง Document Metadata
------powerpoint ---> start ----> prepare ---> properties ---> ลงรายการ catalog ทั้งหมด
// 1 pdf ฝัง PDF Metadata
-----Adobe Acrobat Professional ----> file ---> properties 

แล้วแต่ละชุด metadata จะลงรายกสรอย่างไร ( มาตรฐานลงรายการ )

ขยายทุกไฟล์ โดยเฉพาะ .html ให้รองรับมาตรฐาน Z39.5 ผ่าน Z39.88

< meta name = "keywords" content = "คำค้น" />
< meta name = "authors" content = "หน่วยงาน/ผู้สร้างสรรค์" />
< meta name = "description" content = "คำอธิบาย" />
------- Web Meta Tag ให้ข้อมูลกับ Search Engine

< meta name = "DC.title" content = "คำค้น" />
< meta name = "DC.authors" content = "หน่วยงาน/ผู้สร้างสรรค์" />
< meta name = "DC.description" content = "คำอธิบาย" />
< meta name = "DC.keywords" content = "คำค้น" />
< meta name = "DC.cretedata" content = "หน่วยงาน/ผู้สร้างสรรค์" />
--------DC Meta Tag ให้ข้อมูลบรรณานุกรมกับ Apps เช่น Reference 
            Manager ( EndNotes, Zotero, JabRef, Refwork ..)  ผ่านมาตรฐาน Z39.88
< meta name = "Citation_title" content = "คำค้น" />
< meta name = "Citation_authors" content = "หน่วยงาน/ผู้สร้างสรรค์" />
< meta name = "Citation_description" content = "คำอธิบาย" />
< meta name = "Citation_Keywords" content = "คำค้น" />
< meta name = "Citation_Createdate" content = "หน่วยงาน/ผู้สร้างสรรค์" />
< meta name = "Citation_PublishDate" content = "คำอธิบาย" />
< meta name = "Citation_pdf_url" content = "คำค้น" />
< meta name = "Citation_jourjal_title" content = "หน่วยงาน/ผู้สร้างสรรค์" />
< meta name = "Citation_Volume" content = "คำอธิบาย" />
< meta name = "Citation_issue" content = "คำค้น" />
< meta name = "Citation_firstpage" content = "หน่วยงาน/ผู้สร้างสรรค์" />
< meta name = "Citation_lastpage" content = "คำอธิบาย" />
-------------Citation Meta Tag เป็นชุดใหม่เพื่อให้ข้อมูลบรรณานุกรมเชิงผลงาน
วิชาการกับ Gpoogle Scholar

การเกิดของ Citation Meta Tag เพราะปัญหาจาก OAI-PHM ที่ทำได้ยาก

การเพิ่ม Webometric Ranking 
Size
Visibility
Rich Files
Scholar
ซอฟต์แวร์พัฒนา IR
eprints
Dspace
MediaTUMS
Omeka

Drupal คือ

            ดรูปาล (Drupal) เป็นระบบจัดการเนื้อหาเว็บ (Content Management System) แบบโอเพนซอร์ส เริ่มต้นพัฒนาโดย Dries Buytaert ในภายหลังดรูปาลมีจุดเด่นในเรื่องสถาปัตยกรรมภายในที่ยืดหยุ่น ชื่อ Drupal นั้นเป็นการสะกดภาษาดัทช์คำว่า ?druppel? ด้วยภาษาอังกฤษ ความหมายของ ?druppel? นั้นแปลว่า ?drop? (หยดน้ำ) ซึ่งมีที่มาจากเว็บไซต์แรกที่ใช้ Drupal คือ drop.org 

ความง่ายการใช้งาน
Drupal มีโครงสร้างโปรแกรมที่ต่างจาก CMS อื่น ๆ ผู้จัดการบริหารระบบไม่มี User Interface แยกออกไปต่างหากดังเช่น CMS โปรแกรมอื่น ๆ แต่ User Interafce ของ Drupal จะถูกเปลี่ยนแปลงไปตามสิทธิ์ของผู้ใช้ Drupal มีระบบบริหารและกำหนดสิทธิสมาชิกที่ดีมาก มีความยืดหยุ่นสูง แม้ว่าตอนแรกๆ อาจจะสับสนกับการใช้งานบ้าง แต่เมื่อเข้าใจระบบแล้ว จะรู้สึกว่าใช้งานได้ง่ายและสะดวกมาก นอกจากนี้ Drupal ยังมีรูปแบบการแสดงผลที่ค่อนไปทาง Blog สมัยใหม่ ซึ่งแตกต่างจาก CMS โปรแกรมอื่น ๆ ที่ยังคงมีรูปแบบการแสดงผลเชิงข่าวอยู่ ดังนั้นความแรงของกระแสบลอคจึงมีส่วนผลักดันความนิยมในตัว Drupal


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น